5 Simple Techniques For แผลเบาหวาน

แผลเบาหวานเป็นบาดแผลเรื้อรังที่พบได้บ่อยที่สุด เนื่องจากผู้ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานจะมีไขมันที่ไม่ย่อยสลายไปจับกับเส้นเลือด ส่งผลให้เส้นเลือดตีบและแข็งเกิดการอุดตันในที่สุด ส่งผลให้แผลหายยากเพราะไม่มีเลือดไปหล่อเลี้ยง นอกจากนี้เมื่อป่วยด้วยโรคเบาหวาน ระบบประสาทรับความรู้สึกจะเสื่อม รับความรู้สึกได้น้อยลงหรือไม่ได้เลย ทำให้เท้าชา ไม่รู้สึกเจ็บเมื่อสัมผัสความร้อนหรือเย็น หรือแม้กระทั่งเล็บขบ จึงทำให้เกิดบาดแผลได้ง่าย เนื่องจากอาการเจ็บที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติช่วยให้ระวังการเกิดบาดแผล ดังนั้นบ่อยครั้งที่ผู้ป่วยเบาหวานมีแผล กว่าจะรู้ตัวแผลก็ลุกลามไปมากแล้ว อีกทั้งการที่ระบบประสาทสั่งการผิดปกติ ทำให้กล้ามเนื้อทำงานผิดปกติ ส่งผลให้เท้าผิดรูป เท้าบิดเบี้ยว เนื้อบริเวณปุ่มกระดูกบางแห่งต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้นเกิดเป็นแผลได้เช่นกัน

ตรวจสอบข้อมูลทางการแพทย์โดย นายแพทย์กมล โฆษิตรังสิกุล

อย่าปล่อยให้เป็นแผลเรื้อรังจนไม่สามารถรักษาได้ เมื่อเป็นแผลจากอะไรก็ตาม ควรรีบไปพบแพทย์ทันที เพราะแผลติดเชื้อบางทีก็น่ากลัวกว่ามะเร็ง เนื่องจากเชื้ออาจลุกลามเข้าสู่กระแสเลือดทำให้เป็นโลหิตเป็นพิษและเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว เพราะเชื้อพวกนี้คาดเดาได้ยากและลุกลามได้เร็ว ฉะนั้นอย่ารอให้สายเกินกว่าจะรักษาได้

แบบประเมินความเสี่ยง มะเร็งตับ ออนไลน์

เรื้อรังรักษายาก เพราะแผลเบาหวานเรื้อรังถ้าควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ดีแผลจะหายยาก

ถ้าแผลกว้าง (ขอบแผลห่างกันจนไม่สามารถใช้ปลาสเตอร์ปิดถึงให้ชิดกันได้) ควรให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทำการเย็บแผล

แผลมักเกิดในตำแหน่งปลายมือ ปลายเท้า หรือตำแหน่งรับน้ำหนัก

โรคเบาหวาน แผลเบาหวาน หมายถึง โรคที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าปกติอย่างต่อเนื่องและเรื้อรัง เกิดจากความผิดปกติของตับอ่อนหลั่งฮอร์โมนอินซูลินได้น้อยกว่าปกติ หรือเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่

อาการหรือโรคที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวาน เช่น แผลเรื้อรังหรือแผลหายช้ากว่าปกติ โรคติดเชื้อบางชนิด เช่น การติดเชื้อราที่ช่องคลอด การติดเชื้อราที่ผิวหนัง

อาหารสำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ควรกินและควรหลีกเลี่ยงประเภทใดบ้าง

วิธีป้องกันอาการคัน และรักษาความชุ่มชื้น ไม่ให้ผิวแห้งกร้านมากนัก อาจลองปฏิบัติตามคำแนะนำ ดังต่อไปนี้

ตรวจสอบข้อมูลทางการแพทย์โดย นายแพทย์กมล โฆษิตรังสิกุล · โรคเบาหวาน · โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

หากทำแผลและทานยาตามที่แพทย์สั่งแล้วอาการจะต้องดีขึ้น แต่ถ้าทานยาจนหมดแล้วยังไม่หายขาดหรือแผลยังไม่ดีขึ้น แสดงว่าการทานยาอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ ก็ควรกลับไปโรงพยาบาลเพื่อเพิ่มระดับการทานยามาเป็นการฉีดยาฆ่าเชื้อ หรืออาจต้องทำการผ่าตัดเพื่อระบายเอาหนองออก โดยเฉพาะแผลที่ถูกเสี้ยนตำจนค้างอยู่ข้างใน หรือคนที่เป็นแผลที่เท้าจะอันตรายมาก เพราะบริเวณนี้เลือดจะไหลเวียนไม่ค่อยดีเท่าบริเวณมือ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสภาพแผลของผู้ป่วยแต่ละราย

เท้าบวม เบาหวาน วิธีรักษา ทำได้อย่างไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *